**************************
『秘密』**************************
はい、今日は、
<はい>、4コマのマンガを
<うん>、??、
<うん>、あるカップルがいるんだけどね、
<うん、カップルね>、カップル、
女のほうは整形したの、
<整形?>整形して、
すっごい優しくてかっこいいをゲットできたん、
<へー、笑>、
ある日、つい彼女は昔の写真を彼氏に見られちゃったの、
<やばい、笑>
女の子は「うわー、やばい」見られちゃった、
<笑>、っていうか、
<ん>、
すごい、顔、
<笑>、してたの、で、すごいかっこいい、
<うん>、彼氏さん、
「へー」、昔の写真見てもこう言った、
「なんだ。そんなこと、気にしてなくていいのにな。」
<うん>、
って言ってくれた、
<やさしいー>、やさしいねえ、
<うん>、
でもさ、最後に、ラストに、ラストコマに、
「だって、ぼくもこうなんだ。」って言って、
かつら、(笑)、
<笑>、そのかっこいい彼氏がハゲだったって、
<へー>、
信じられないやん!
<笑>、で、その女の子が、まるで、石のように、
<笑>、
すごい、ショック、
<うん>、受けたの、
<笑>、で、おしまい、
<お互いさまだね>、うん、だねー、
<面白い>。
********************
【BEFORE & AFTER】
เราจะมาดูกันว่า
การใช้ あいづち กับ ท่าทางการฟังของผู้เขียน
เปลี่ยนแปลงไปบ้างไหม
และเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรค่ะ
เรื่องที่เพื่อนเล่ารอบแรก(เมื่อนานมาแล้ว)เป็นการ์ตูน 4 ช่อง(4コマ漫画)
ชื่อเรื่อง 『赤ちゃん』(เบบี๋) ค่ะ
【ครั้งที่①:一回目】
**************************『赤ちゃん』**************************
ある赤ちゃんと犬がいます。赤ちゃんは犬に乗ろうとしています。
背中ね。
<うん>でも、犬と顔を合わせて、
えっ、どうやって乗ろうかなあと思って、で、
赤ちゃんが「あー!後ろから乗れるじゃない?」と思って、
さっき、正面、正面?正面じゃない。なんか犬の顔、まあ、なんていう?
まあ、犬の背中に乗ろうとし、後ろから、まあ、向かないといけない。
顔じゃなくて、で、赤ちゃんが一周ハイして背中に乗ろうとするね。
でも、一周回っていっても、また犬の顔に合っちゃった。
後ろじゃなくて、また犬の顔に合っちゃったって、
「へっ!」、なんか、すごい「えっ!」ってしたの!
<うんうん>で、おしまい!
<笑、わかんない>
だってだって、一周回ってっても、犬の背中に後ろから乗れないもん。
<あー!一周!>だから、
えっ!尻尾なはずじゃない?って思ってました。で、おしまい!
ーーーーーーーーーーーーー
【追加】
背中を乗ろうとするときにはあ後ろから乗らなければならによね。
<うん>
でも、まあ一周回っても、また顔と顔、対面しちゃったって感じで、
赤ちゃんは多分自分の考え?
<一周回ったら・・>
なんでまた顔に合っちゃったっていう感じ。
<うん>
うん。だいたいわかる?
<笑>
(
http://amyamiry.blogspot.comより引用)
ด้านล่างนี้(表1)เป็นตารางเปรียบเทียบ
ประเมินการใช้あいづちของตัวเอง(คร่าวๆ)ก่อนทำTask1และ2(自己評価)
ฟังเพื่อนเล่าเรื่องครั้งที่(一回目『赤ちゃん』)
ฟังเพื่อนเล่าเรื่องครั้งที่2(二回目『秘密』)
●=ใช้
×=ไม่ใช้เลย
*ไม่ได้นับจำนวนครั้งเพราะเรื่องที่ฟังไม่ใช่เรื่องเดียวกัน
ส่วนที่เป็น Non-Verbal อาจจะเอาไปรวมกับ あいづち ยาก
เลยจะแยกเป็นตารางที่ 2 (表2)非言語表現 นะคะ
นอกจาก พยักหน้า(頷き)กับหัวเราะ(笑)แล้ว
จริงๆควรจะมีสีหน้า(表情)กับทิศทางการมอง(視線の方向)ด้วย
แต่ส่วนนี้คงประเมินตัวเองยากหน่อย อาจจะต้องถามคนพูดค่ะ55
เพื่อให้เห็นภาพความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นนิดนึง
และเปลี่ยนบรรยากาศ
เราจะลองเปรียบตัวเองกับคาแรกเตอร์สัตว์ค่ะ :)
รอบแรก(一回目)เป็น
うんうんくま (น้องหมี เออ-ออ) ค่ะ
จุดเด่น:เออออห่อหมก(うん系)กับ พยักหน้า(頷き)ลูกเดียว5555
รอบแรกเป็น
ผู้ฟังที่เงียบมากกกกค่ะ
ต้องตั้งใจฟังดีๆ ถึงจะได้ยินเสียง「うん」ฟังเผินๆ เหมือนไม่ได้พูดอะไรเลย (เศร้า)
เพื่อนตั้งใจเล่ามากๆ สังเกตจากตอนจบเรื่องแล้วเราบอกว่า"ยังงงๆ"
เพื่อนเลยอธิบายเสริมให้จนเห็นภาพ
กลับมาฟังอีกทีแล้ว รู้สึกตัวเอง失礼มากๆ ที่นั่งฟังเงียบๆ ซะเยอะ
ไม่แสดงทีท่าอินกับเรื่องที่เพื่อนเล่าเลย ; v ;
อันนี้เป็นตัวอย่าง "ผู้ฟังที่ไม่ดี" นะคะ
|
うんうんくま_http://hiyokoyarou.com/unun-kuma/ |
รอบที่2(二回目)เป็น
ルンルン気分で歩くひよこ (เจ้าเจี๊ยบที่กำลังเดินอย่างร่าเริง) ค่ะ
จุดเด่น:
แสดงอารมณ์ความรู้สึกมากขึ้น
ลูกเจี๊ยบได้ลองสังเกตการใช้จริงๆ มาแล้วลองเอามาใช้ตาม
สำนวนแสดงความรู้สึกที่ใช้รอบนี้ เช่น
"โห"(へー)
"ใจดีจัง"(やさしい)
"น่าสงสารอะ"(かわいそう)
เริ่ม
พูดมากขึ้นนิดหน่อย แทนที่จะตอบรับหรือพยักหน้าเพียงอย่างเดียว
มี
ทวนประโยค เช่น "(โห) เขาทำศัลยกรรมหรอ"(整形?)
การทวนประโยคเป็นวิธีหนึ่งที่แสดงว่าเราสนใจ/ยังอยู่กับเรื่องที่เขาเล่าค่ะ
|
ルンルン気分で歩くひよこ_http://hiyokoyarou.com/ranking/ |
*จุดสังเกตอื่นๆ*
①รอบหลังมี
สลับใช้รูปสุภาพกับธรรมดา(スピーチスタイルシフト)ในตอนต้นเรื่องด้วยค่ะ
อันนี้แปลกใจตัวเองมากเลย เพราะปกติจะระวังไม่ให้มีผสม
นานๆทีจะหลุดค่ะ55
②เวลาใช้あいづち
(タイミング)คิดว่า
โอเคขึ้น รอบแรกไม่ค่อยแน่ใจว่า
จะพูดตรงไหนดี กลัวจะไปรบกวนสมาธิคนพูดด้วย เลยอ้ำอึ้งๆ ค่ะ
รอบ2เริ่มกล้าใช้มากขึ้น ตรงไหนคิดว่า"ตอนนี้แหละ" ก็จัดไปเลย
③ความหลากหลายของสำนวน
(バリエーション)จากตารางด้านบนจะเห็นว่า
あいづちที่ใช้
มีความหลากหลายมากขึ้นบ้าง (แม้จะยังไม่เยอะเท่าเจ้าของภาษา)
ตรงนี้น่าจะช่วยให้การสนทนา(会話)เป็นไปได้อย่าง Smooth
และเป็นธรรมชาติมากขึ้นค่ะ
④ Intonation
(イントネーション)
รอบแรกไม่มีตรงนี้เลยค่ะ เพราะอย่างที่บอกไป เออออกับพยักหน้าอย่างเดียว55
ส่วนรอบที่ 2 นั้น Intonation จะเปลี่ยนแถวๆคำแสดงอารมณ์ความรู้สึกค่ะ
*******************
🌸
สรุป 🌸
【量的】
ด้านปริมาณการใช้รอบที่2ใช้あいづちมากขึ้น
【質的】
มีความหลากหลายของคำ/สำนวนที่ใช้มากขึ้นบ้าง
มีการสลับใช้รูปสุภาพกับธรรมดาในตอนต้นเรื่อง(สุภาพ) ใช้ถี่ขึ้น
ลักษณะเด่นของทั้งสองรอบ
คาแรกเตอร์
うんうんくま (น้องหมี เออ-ออ) ซึ่งมีลักษณะ
ผู้ฟังที่นั่งฟังเงียบๆ เอออออย่างเดียว ไม่อยากไปขัดจังหวะคนพูด
อาจพอไปได้ในสังคมไทย
แต่ในสังคมญี่ปุ่นเป็นคาแรกเตอร์ที่ NG ไม่โอเคเท่าไหร่ค่ะ
ส่วนคาแรกเตอร์
ルンルン気分で歩くひよこ (เจ้าเจี๊ยบที่กำลังเดินอย่างร่าเริง)
มีลักษณะเป็นคาแรกเตอร์ที่
เริ่มพูดแสดงความรู้สึก/ความคิดเห็นออกมาบ้าง
ลักษณะผู้ฟังแบบนี้อาจพอไปวัดไปวาได้ในสังคมญี่ปุ่น
แต่ก็ยังไม่ถึงระดับที่น่าพึงพอใจ 理想的 ค่ะ
ในครั้งที่2ยังรู้สึกว่าตัวเองยังไม่ stick อยู่กับเรื่องที่เพื่อนเล่าอยู่ดีค่ะ
สังเกตว่าจะมีบางช่วง เช่น ช่วงกลางๆเรื่องที่มีแต่「うん」หรือเงียบไปเลย
ถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นควรจะมีความหลากหลายของการใช้มากกว่านี้
การสังเกตการใช้ของเจ้าของภาษา
ผ่านการฟังวิทยุ หรือ การดูสื่อต่างๆ ที่มีลักษณะเป็น 対話
ก็น่าจะช่วยได้ในระดับหนึ่งค่ะ
*************************************
【???ค้างคาใจ???】
เกี่ยวกับ「お互いさま」
คำว่า「お互いさま」ตอนจบเรื่องที่2ไม่แน่ใจว่าตัวเองใช้ถูก Context ไหม
ค้างคาใจเลยไปค้นมาเพิ่มเติมค่ะ
「お互いさま」
①困ったときのお互いさま。
助けたり、助けられたりすること。(การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน)
②両方とも同じ立場や状態に置かれていること。
(ทั้งสองฝ่ายอยู่บนจุดยืนเดียวกันหรือตกอยู่ในสภาพเดียวกัน)
เคยเห็นในละครใช้สำนวน「どっちもどっちやない?」
ไม่รู้ว่าแตกต่างกันไหม เลยไปค้นมาเพิ่มนิดหน่อยค่ะ
「どっちもどっち」
どちらも同程度である、どちらもあまり評価できたものではない、
といった意味の表現。(実用日本語表現辞典より)
ทั้งสองฝ่ายอยู่ในสภาพเดียวกัน "ไม่ว่าฝ่ายไหนก็แย่พอกัน"
(ใช้เวลาเปรียบเทียบ) มีความหมาย (−)
引用
お互い様 大辞林 第三版の解説
困ったときはお互いさま Weblio類語辞書